การวิจัยและพัฒนา
เพื่อสนับสนุนการกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสี
ห้องปฏิบัติการ
สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ มีอีกหนึ่งภารกิจสำคัญในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยีและมาตรฐานด้านการวัดทางนิวเคลียร์และรังสี รวมทั้งภารกิจด้านนิติวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ รวมถึงการตรวจวัด ติดตาม เฝ้าระวัง และประเมินผลกระทบทางรังสี เพื่อความปลอดภัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้การดำเนินงานตามภารกิจดังกล่าวสำเร็จลุล่วงอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการและประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและมั่นใจในการกำกับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสีของ ปส. จึงมีการจัดตั้งห้องปฏิบัติการด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ห้องปฏิบัติการนิเวศวิทยารังสีภาคพื้น (Terrestrial Radioecological Laboratory)
ห้องปฏิบัติการนิเวศวิทยารังสีทางทะเล (Marine Radioecology Laboratory )
หน่วยปฏิบัติการพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์รังสีในสิ่งแวดล้อม(Development Unit of Environmental Radioactivity Analysis)
ห้องปฏิบัติการตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์ทางนิวเคลียร์
ห้องปฏิบัติการมาตรฐานการวัดปริมาณรังสีระดับสูง (High Dose Radiation Dosimetry Calibration Laboratory, HDCL)
ห้องปฏิบัติการมาตรฐานด้านกัมมันตภาพรังสีและวัสดุอ้างอิงรังสี (National Standard Radioactivity Laboratory, NSRL)
การวิจัยและพัฒนา
นิติวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์
นิติวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ (Nuclear Forensics) เป็นการดำเนินการที่หาความเชื่อมโยงของวัสดุกัมมันตรังสี วัสดุนิวเคลียร์และวัตถุพยานที่ปนเปื้อนรังสี เพื่อนำไปสู่การสืบหาแหล่งที่มา กระบวนการผลิต สถานที่ผลิต วัตถุประสงค์ในการใช้งาน และผู้ถือครองมาประกอบการดำเนินคดีตามกฎหมาย
การประเมินค่าปริมาณรังสี
การเปรียบเทียบผลการประเมินค่าปริมาณรังสีจากภายในร่างกายกรณีศึกษาที่กำหนดโดย IDEAS/IAEA
เอกสารประกอบการตรวจวัดและประเมินค่าปริมาณรังสีจากภายในร่างกาย
เอกสารประกอบการสร้างความตระหนักเชิงรุกในการตรวจวัดปริมาณรังสีจากภายในร่างกาย
เชิงรุกในการตรวจวัดปริมาณรังสีจากภายในร่างกาย
เอกสารวิธีการตรวจวัด I-131 ด้วยเทคนิคต่างๆ
การตรวจวัดรังสีและเฝ้าระวังกัมมันตภาพรังสีในสิ่งแวดล้้อม
รังสีทางการแพทย์
มาตรวิทยารังสี
การดำเนินการตามพันธกรณีของ CTBT
การดำเนินการตามพันธกรณีของสนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ในประเทศไทย
ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันสนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ (Comprehensive Nuclear-Test-Ban Treaty; CTBT) เมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๖๑ โดยมีพันธกรณีที่ต้องดำเนินการภายใต้สนธิสัญญา ได้แก่
– จัดตั้งสถานีเฝ้าตรวจในระบบเฝ้าตรวจระหว่างประเทศในประเทศไทย
สถานีเฝ้าตรวจนิวไคลด์กัมมันตรังสี (Radionuclide Monitoring Station, RN65)
สถานีเฝ้าตรวจความสั่นสะเทือนของพิภพ (Primary Seismic Monitoring Station, PS41)
ระบบวัดก๊าซเฉื่อยกัมมันตรังสี ทีเอชเอ็กซ์ ๖๕ (Radionuclide Noble Gas System; THX65)
– ศูนย์ข้อมูลเฝ้าตรวจการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ (National Data Center: N171)
สถานีเฝ้าตรวจนิวไคลด์กัมมันตรังสี อาร์เอ็น 65
RADIONUCLIDE MONITORING STATION: RN65
สถานีเฝ้าตรวจความสั่นสะเทือนของพิภพ (พีเอส 41)
(PRIMARY SEISMIC MONITORING STATION: PS41)
ศูนย์ข้อมูลแห่งชาติ เอ็น 171
(National Data Center: N171)
ผลการดำเนินงาน
ผลงานวิจัยและพัฒนา
จดหมายข่าว
นิติวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์
กลุ่มพัฒนาด้านความปลอดภัย