สารบัญ

 

กพรpng

 

 

Value01 02OKRs04  03PMQA02 04RiskM 
       
       

 


ประวัติความเป็นมาของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

ประวัติสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

ประวัติความเป็นมาของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

      ตาม พรบ. ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ได้เพิ่มเติมกฏหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินเป็นมาตรา 3/1 แห่ง พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534โดยมีสาระสรุปความว่า การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า มีการกระจายภารกิจ และอำนาจการตัดสินใจในการปฏิบัติหน้าที่ที่ต้องใช้วิธีบริหารกิจการบ้าน เมืองที่ดี คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการเปิดเผยข้อมูลและมีการติดตามตรวจสอบเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบกับมาตรา 71/1 ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหาร (ก.พ.ร.) มาตรา 79/10 ให้ ก.พ.ร. มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่ ครม. เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและหน่วยงานของรัฐ 
      ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องและประสานกับส่วนราชการได้เป็นอย่างดีสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ จึงกำหนดให้มีการจัดตั้งกลุ่มพัฒนาระบบบริหารขึ้นโดยเป็นหน่วยงานอิสระ ที่ขึ้นต่อเลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เป็นกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

 


ภารกิจและอำนาจหน้าที่กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

อำนาจหน้าที่กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

  • เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการภายในสำนักงาน
  • ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการในสำนักงาน
  • ประสานงานและดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่างๆ และหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน
  • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

ฝ่ายบริหารงานทั่วไป

  • งานบริหารงานทั่วไปของกลุ่ม
  • งานธุรการของกลุ่ม
  • งานประสานงานทั่วไปของกลุ่ม
  • ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูล ผลการดำเนินการของสำนัก
  • ปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

งานพัฒนาระบบงานและโครงสร้างกลุ่มองค์การ

  • เสนอแนะให้คำปรึกษาเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ
  • วางแผนการพัฒนาหน่วยงาน
  • ปรับปรุงภารกิจ โครงสร้างองค์กร กลไกการปฏิบัติงาน และระบบงาน
  • ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ
  • ให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงาน และการบริการ
  • ติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบงาน กระบวนการทำงาน และการพัฒนาหน่วยงาน (PMQA)
  • ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มงานพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ

  • คำรับรองการปฏิบัติราชการ
  • ตัวชี้วัดของคำรับรองการปฏิบัติราชการ
  • ติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบราชการในองค์กร
  • พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการติดตามและประเมินผล
  • ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

 


 ข้าราชการและเจ้าหน้าที่กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

 01

นางวราภรณ์ วัชรสุรกุล (ตุ๊ก)
Ms. Varaporn Watcharasuragul
ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Director of Administration Development Group
(ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านความปลอดภัยทางนิวเคลียร์
ปฏิบัติงานในฐานะผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร)
Ext. 3601
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

   
 40243144 10209748986840935 6626244616209301504 o

ว่าที่ร้อยตรี สุรัตน์ หงษ์จันทร์ (อี๊ด)
Acting Sub Lt.Surat Hongchan
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
Ext. 4204
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

   
 02ปอย

นางสาวโชติมา ทองทา (ปอย)
Ms. Chotima Thongta
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
Ext. 4204
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

   
 02เอก

นายเอกพล นวพันธ์ (เอก)
Mr. Ekapol Navapan
นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ
Ext. 4204
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

   
04 หมอ 

นายไกรสร วิหาร (หมอ)
Mr. Kraisorn Wiharn
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
Ext. 4204
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

   
 02หลิน

นางสาวศิริธร ธรรมวัติ (หลิน)
Ms. Sirithon Thammawat
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
Ext. 4204
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

   
 02เบสท์

นางสาวปาริฉัตร พลาทรปริรักษ์ (เบส)
Ms. Parichat Palathornpariruk
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
Ext. 4204
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

   
05 เฟิน นางสาวธารินี โพธิสาร (เฟิร์น)
Ms. Tarinee Potisan
เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
Ext. 4204
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
   
02พี่เอ๋ นางสมญา จุลศิลป์ (เอ๋)
Ms. Somya Junlasin
เจ้าหน้าที่ธุรการ
Ext. 4203
E-mail This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

 


 นโยบายผู้บริหาร

 

วิสัยทัศน์สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (Vision)

 วิสัยทัศน์ ปสjpg

 

 

 

 


 วัฒนธรรมและค่านิยมองค์กร (Culture and Core Values)

OAP Value2563

 

ความหมายและการนำไปสู่การปฏิบัติ

ค่านิยมองค์กรของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ  "ATOMS"

          A = Accountability (ความรับผิดชอบ) หมายถึง มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและองค์กร บุคลากรของ ปส. จะต้องมุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ เพื่อให้งานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จลุล่วงตามที่กำหนดไว้

          T = Transparency (ความโปร่งใส) หมายถึง ต้องมีความโปร่งใสตรวจสอบได้ ข้อมูลต่างๆจะต้องนำมาเผยแพร่ให้กับประชาชนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้อย่างครบถ้วน และสามารถตรวจสอบการทำงานของสำนักงานได้

          O = Observant (ใส่ใจในรายละเอียด) หมายถึง ต้องใส่ใจในรายละเอียด การดำเนินงานในทุกขั้นตอนจะต้องมีความรอบคอบ เพื่อให้การดำเนินงานมีความผิดพลาดน้อยที่สุด

          M = Masterful (เชี่ยวชาญ) หมายถึง จะต้องมีความเชี่ยวชาญในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ทั้งนี้ ทุกคนจะต้องมีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เพื่อให้มีการพัฒนาตนเองในส่วนนี้ให้มีความเชี่ยวชาญมากยิ่งขึ้น

          S = Safety and Security (ความปลอดภัยและความมั่นคงปลอดภัย) หมายถึง บุคลากรทุกคนจะต้องตระหนักในเรื่องวัฒนธรรมความปลอดภัยและความมั่นคงปลอดภัย เพื่อให้การทำงานของบุคลากรทุกคนมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น

 


นโยบายและแผนยุทธศาสตร์

 

 


 

 


ตัวชี้วัดและการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ

 

ตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ

 

การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ

 

 


okr  
   

 


แผนพัฒนาองค์กรสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (Organization Development Plan)

 


การพัฒนาโครงสร้างการบริหารองค์กรของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

โครงสร้างการบริหารองค์กรของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ 

org chart 2019

 

 


 

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ ปส. (PMQA)

  PMQA   การพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศ 

  Rounded Rectangle: PMQAเป็นเกณฑ์ที่ประยุกต์มาจากเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ The Malcolm Baldrige National Quality Award หรือ MBNQA และได้กลายเป็นต้นแบบรางวัลคุณภาพแห่งชาติให้กับประเทศต่าง ๆ หลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย

 ความเป็นมา

             มติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้นำการบริหารจัดการภาครัฐมาใช้เป็นเครื่องมือผลักดันให้การพัฒนาระบบราชการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว โดยได้ดำเนินการพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบัน

 

PMQA  คืออะไร

           การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ  (Public Sector Management  Quality Award : PMQA)   เป็นกรอบการบริหารจัดการองค์การ  ที่ สำนักงาน ก.พ.ร.  ได้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ส่วนราชการนำไปใช้ในการประเมินองค์การด้วยตนเองที่ครอบคลุม ภาพรวมในทุกมิติ เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหาร จัดการให้เทียบเท่า มาตรฐานสากล โดยมุ่งเน้นให้หน่วยงานราชการปรับปรุงองค์การอย่างรอบด้านและอย่างต่อเนื่อง

         เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นชุดคำถามเกี่ยวกับเรื่องสำคัญ 7 ด้าน ในการบริหารและดำเนินงานของส่วนราชการ ได้แก่

        หมวด 1 การนำองค์การ 

        หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 

        หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 

        หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 

        หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 

        หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 

        หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ

unnamed 1

 

เอกสารเผยแพร่/บทความ/

images   เกณฑ์ประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0 (2563) 
pmqa 4.0 คู่มือการประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0
 unnamed การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเข้าสู่ระบบราชการ 4.0
5 หน่วยงานต้นแบบ 5 หน่วยงานต้นแบบระบบราชการ 4.0
2560 PMQA Best Practice 2560
2015 PMQA Best Practice 2558
pmqa58 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2558
pmqa58 2  เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
 download คู่มือเทคนิคการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร

 

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ ปส.

คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ ปส.

ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ 2562

เอกสารการประชุม คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ครั้งที่ 1/2562

ระเบียบวาระการประชุม

ระเบียบวาระที่ 2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ ปส.

ระเบียบวาระที่ 2.2 สรุปผลการประเมินสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0

ระเบียบวาระที่ 2.3 แผนการดำเนินงานการพัฒนาองค์กรสู่การเป็นระบบราชการ 4.0

ระเบียบวาระที่ 3.1 ผลหมวด 1-6

ระเบียบวาระที่ 3.1 ผลหมวด 7

ระเบียบวาระที่ 3.3 แผนพัฒนาองค์กรของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ 2563

ระเบียบวาระที่ 3.3

กระบวนการ PMQA ปส.

เอกสารประกอบการประชุม

เอกสารประกอบการประชุมอื่นๆ

 


การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

นิยามความเสี่ยง

       คำจำกัดความของคำว่า "ความเสี่ยง" (Risk) ต่างกันไปตามความเชี่ยวชาญและอาชีพของผู้ให้คำจำกัดความแตกต่างกันไปตามมุมมองของตน แต่แก่นของความหมายของคำว่า "ความเสี่ยง" ที่เหมือนกัน คือ ความไม่แน่นอน (หรือโอกาส) ที่อาจนำไปสู่ความสูญเสียหรือการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เช่น ความไม่แน่นอนของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนอาจนำไปสู่การบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจึงนับว่าเป็นความเสี่ยง ความไม่แน่นอนของผลผลิตทางการเกษตร หรือความไม่แน่นอนที่จะเกิดพายุหนักซึ่งอาจทำให้โครงการต้องหยุดชะงักก็นับเป็นความเสี่ยง เป็นต้น

  • ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ในอนาคต และอาจส่งผลกระทบในด้านลบที่ไม่ต้องการ ดังนั้น การตัดสินใจกระทำการใด ๆ โดยไม่มีข้อมูล หรือไม่มีการวางแผนใด ๆ จึงสามารถกล่าวได้ว่าเป็นการเสี่ยงตัดสินใจในสภาวะของความเสี่ยง (สำนักงาน ก.พ.ร.., มปท.)
  • การเสี่ยง หมายถึง การตัดสินใจที่จะดำเนินการ (หรือไม่ดำเนินการ) สิ่งใดสิ่งหนึ่งบนพื้นฐานของการขาดข้อมูลที่ชัดเจน ไม่ครบถ้วน เป็นเพียงการประมาณการ การคาดเดา การต้ังความหวัง ซึ่งผลของการตัดสินใจนั้น อาจเป็นไปตามความคาดหมายหรือตรงกันข้ามก็ได้ เช่น การเสี่ยงโชคพนัน การเสี่ยงอันตราย เป็นต้น (สำนักงาน ก.พ.ร.., มปท.)
  • ารบริหารความเสี่ยง (Risk Management) คือ กระบวนการที่ทุกคนในองค์การไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารระดับใด หรือบุคลากรในงานส่วนไหนต่างต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการหาและให้ข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์ในการคาดการณ์ เพื่อการตัดสินใจในการเลือกยุทธศาสตร์ กำหนดเป้าหมาย จัดทำแผนงาน และจัดสรรงบประมาณในการปฏิบัติงาน โดยมุ่งเป้าหมายเพื่อที่จะให้การปฏิบัติงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งเอาไว้ หรือลดผลกระทบของความเสียหาย (หรือผลกระทบ) ที่อาจเกิดขึ้นอันจะมีผลต่อความสูญเสียขององค์กร ดังนั้น การจัดการความเสี่ยง จึงเป็นการบริหารภายในขอบเขตที่ผู้ที่เกี่ยวข้องยอมรับความเสี่ยงได้เท่านั้น มิใช่การบริหารความเสี่ยงเพื่อขจัดความเสี่ยงในการบริหาร การบริหารความเสี่ยงจึงเป็นกระบวนการที่มุ่งสู่การตัดสินใจภายใต้สภาวะที่มีความเสี่ยงตามข้อมูลที่ได้รับกับการตัดสินใจภายใต้สภาวะที่มีความไม่แน่นอนของปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ (นฤมล  สอาดโฉม, การบริหารความเสี่ยง (Risk Management). สำนักงาน ก.พ.ร.., 2552)

ความแตกต่างระหว่าง "ความเสี่ยง (Risk)" กับ "ปัญหา (Problem)" 

  • ความเสี่ยง (Risk) เป็นการมองไปข้างหน้า เป็นการคาดการณ์ในอนาคต โดยการนำหลักฐานเชิงประจักษ์หรือข้อมูลหรือปัญหาที่เกิดขึ้นในอดีตมาศึกษา วิเคราะห์ สาเหตุและผลกระทบของความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น พร้อมกำหนดแนวทางการลด/ควบคุมความเสี่ยง เมื่อได้มีการจัดการแก้ไขอย่างเป็นระบบแล้วจะส่งผลให้ลดโอกาสที่อาจจะเกิดรายการความเสี่ยงและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้กับรายการความเสี่ยงนั้น ๆ 
  • ปัญหา (Problem) เป็นการมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต และยังคงเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องมีการแก้ไขปัญหา ซึ่งหากปัญหาไม่ได้รับการแก้ไขหรือแก้ไขไม่ถูกวิธี อาจก่อให้เกิดความเสียหายตามมา และอาจทำให้ปัญหาดังกล่าวนั้นกลายเป็นความเสี่ยงขึ้นได้ ส่วนการบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Management) เป็นกระบวนการบริหารจัดการองค์กรโดยมีการวางแผนป้องกันและรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น

ประเภทของความเสี่ยง

      สำนักงานปรมาณูเพือสันติได้กำหนดกรอบในการบริหารความเสี่ยง แบ่งตามประเภทของความเสี่ยงไว้ 4 ประเภท ดังนี้

  • ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ (Strategic Risk) เกี่ยวข้องกับการบรรลุเป้าหมายและพันธกิจในภาพรวม โดยความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเหตุการณ์ภายนอก ส่งผลต่อกลยุทธ์ที่กำหนดไว'ไม่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์/วิสัยทัศน์ หรือเกิดจากกลยุทธ์ที่ขาดการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนหรือการร่วมมือกับองค์การอิสระ ทำให้โครงการขาดการยอมรับ และโครงการไม่ได้นำไปสู่การแก้ไขปัญหาหรือการตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างแท้จริง หรือเป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจผิดพลาดหรือนำการตัดสินใจนั้นมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง

  • ความเสี่ยงด้านกฎหมาย และกฎระเบียบ (Compliance Risk) เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบต่างๆ โดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจากความไม่ชัดเจน ความไม่ทันสมัย หรือความไม่ครอบคลุมของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ รวมถึงการทำนิติกรรมสัญญา การร่างสัญญาที่ไม่ครอบคลุมการดำเนินงาน

  • ความเสี่ยงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Risk) ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ที่คาดหวังหรือไม่คาดหวัง อันเนื่องมาจากการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ซึ่งมีผลกระทบถึงระบบงานและการปฏิบัติงาน

  • ความเสี่ยงการปฏิบัติงาน (Operational Risk) เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพ ประสิทธิผลหรือผลการปฏิบัติงาน โดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจากระบบงานภายในขององค์การ/กระบวนการ/เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ใช้/บุคลากร/ความเพียงพอของข้อมูล ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงาน 

การบริหารความเสี่ยงของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

นโยบายบริหารความเสี่ยง

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน

แผนบริหารความเสี่ยงของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของแผนงาน-โครงการที่สำคัญ

รายงานผลการบริหารความเสี่ยง

         รายงานผลการบริหารความเสี่ยงของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

 

 


 การควบคุมภายใน (Internal Control)

ความหมายของการควบคุมภายใน

        การควบคุมภายใน (Internal Control) หมายถึง กระบวนการที่ผู้บริหารและบุคลากรขององค์กรจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานขององค์กรจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ตามคำจำกัดความของการควบคุมภายใน ได้กล่าวถึงเรื่องวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานซึ่งอาจจำแนกวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน เป็น 3 ประเภท คือ

       1) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงาน คือ วัตถุประสงค์พื้นฐานของการดำเนินงานในทุกองค์กร โดยมุ่งเน้นที่กระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ และเอื้ออำนวยให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ในขณะเดียวกัน ผลที่ได้รับจากกระบวนการนั้น ต้องคุ้มค่ากับต้นทุนที่ใช้ไป จึงจะทำให้เกิดความมีประสิทธิภาพ

      2) ความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน คือ การจัดให้มีข้อมูลและรายงานทางการเงินที่ถูกต้อง เพียงพอ และเชื่อถือได้ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริหาร บุคลากรในองค์กร และบุคคลภายนอกในการนำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ

      3) การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง คือ การมุ่งเน้นให้กระบวนการปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เงื่อนไขตามสัญญา ข้อตกลง นโยบาย และแนวทางการปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การกำหนดวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานขึ้นมานั้น ผู้บริหารจะต้องกำหนดวิธีการทำงานให้ไปสู่วัตถุประสงค์นั้น และในขณะเดียวกันก็ต้องมีการควบคุมการปฏิบัติงานต่าง ๆ ในองค์กรให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย การควบคุมต่าง ๆ เหล่านี้ ก็คือ การควบคุมกระบวนการปฏิบัติงานภายในองค์กร หรือเรียกสั้นๆ ว่า "การควบคุมภายใน" นั่นเอง

 

 


 การเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยและความมั่นคงปลอดภัย (Safety and Security Culture)

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน

รายงานการประชุม

 การดำเนินงานด้านวัฒนธรรมความปลอดภัยและความมั่นคงปลอดภัยของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

 

 IAEA Safety Culture Atandard

 

 

 


 

ITALogo1 ITA Pic
 
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ข้อมูลพื้นฐาน

• โครงสร้างสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
• ข้อมูลผู้บริหารสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
 อำนาจหน้าที่
• วิสัยทัศน์
• พันธกิจ

• แผยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน

• ข้อมูลการติดต่อ

• กฏหมายที่เกี่ยวข้อง

• ข่าวประชาสัมพันธ์

นโยบายและแผนยุทธศาสตร์

แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2563

• รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน

• รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

• นโยบายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศ (พ.ศ. 2560-2569)
แผนปฏิบัติราชการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2564 - 2568)
สรุปรายงานผลการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทำแผนการดำเนินงานของ ปส. (พ.ศ. 2564 - 2568)
แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2562 ไปพลางก่อน (1 ต.ค.62-31 มี.ค.63)
รายงานฉบับสมบูรณ์ รายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการและตัวชี้วัด ปี พ.ศ. 2562
รายงานการวิเคราะห์งบประมาณตามงบรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2562 ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (พ.ศ. 2561-2565)
แผนที่นำทางของ ปส.OAP Roadmap
แผนปฏิบัติการดิจิทัล 5 ปี ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ.2561 - 2565

การบริหารเงิน/งบประมาณ

ตัวชี้วัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายตามมาตรการประหยัดงบประมาณรายจ่าย สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายตามมาตรการประหยัดงบประมาณรายจ่าย สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายตามมาตรการประหยัดงบประมาณรายจ่าย สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
•  หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายตามมาตรการประหยัดงบประมาณรายจ่าย สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายค่าตอบแทนกรรมการพัสดุ เบี้ยประชุม และค่าวิทยากร ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

การจัดซื้อจัดจ้าง/การจัดหาพัสดุ
• แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
• ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ

     - ภาพถ่ายประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง
• สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน พฤษภาคม 2563

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน เมษายน 2563

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน มีนาคม 2563

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน กุมภาพันธ์ 2563

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน มกราคม 2563

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน ธันวาคม 2562

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน พฤศจิกายน 2562

    - สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง เดือน ตุลาคม 2562
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี 2562

รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี 2563

การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร/ติดต่อสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

• ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
ข่าวประชาสัมพันธ์
• ข้อมูลการติดต่อสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- ติดต่อสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- แผนที่
- กระดานถามตอบ Q&A
- Facebook

- Youtube

การให้บริการ

• งานบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- ขออนุญาตผลิต มีไว้ในครอบครอง หรือใช้ซึ่งวัสดุพลอยได้
วัสดุนิวเคลียร์พิเศษ วัสดุต้นกำลัง
และเครื่องกำเนิดรังสี

- สมัครสอบขึ้นทะเบียนเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี (Radiation Safety Officer)
- แจ้งข้อเท็จจริงการใช้ใบอนุญาตฯ สำหรับการ นำเข้า-ส่งออก ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เชื่อมโยงระบบ NSW
- สอบเทียบเครื่องวัดรังสี เครื่องสำรวจรังสี (Survey Meter) และ มาตรวัดรังสีแบบพกพา (Dosimeter)
• สถิติการให้บริการ

 - ข้อมูลสถิติการให้บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

    - สถิติการให้บริการ เดือนพฤษภาคม

    - สถิติการให้บริการ เดือนเมษายน

    - สถิติการให้บริการ เดือนมีนาคม

    - สถิติการให้บริการ เดือนกุมภาพันธ์

    - สถิติการให้บริการ เดือนมกราคม

    - สถิติการให้บริการ เดือนธันวาคม

    - สถิติการให้บริการ เดือนพฤศจิกายน

    - สถิติการให้บริการ เดือนตุลาคม

• ความพึงพอใจการให้บริการ
- รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
- รายงานการศึกษาวิจัยการสำรวจความพึงพอใจงานบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
• E-Service
ะบบค้นหาคำขอรับใบอนุญาตที่ผ่านการประชุมพิจารณาใบอนุญาตฯ
ะบบยื่นคำขอรับใบอนุญาตฯ ครอบครองเครื่องกำเนิดรังสี
ะบบคำนวณอัตราค่าธรรมเนียมการขอรับใบอนุญาตฯ
ะบบรับสมัครสอบเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีแบบออนไลน์
- ระบบใบแจ้งข้อเท็จจริงการใช้ใบอนุญาตฯ สำหรับการ นำเข้า-ส่งออก ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เชื่อมโยงระบบ NSW
- ระบบจองคิวสอบเทียบเครื่องวัดรังสีออนไลน์

มาตรฐานการให้บริการ/มาตรฐานการปฏิบัติงาน

• มาตรฐานการปฏิบัติงาน

     - คู่มือมาตรฐานการให้บริการ - การขอรับใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองหรือใช้เครื่องกำเนิดรังสี

     - คู่มือการสอบเทียบเครื่องวัดรังสี

     - คู่มือการรับส่งตัวอย่างเครื่องวัดรังสี

     - คู่มือหลักเกณฑ์การพิจารณา ตรวจสอบ ประเมินคำขอนำเข้าเครื่องกำเนิดรังสี

     - คู่มือหลักเกณฑ์การพิจารณา ตรวจสอบ ประเมินการขอรับใบอนุญาตส่งออกเครื่องกำเนิดรังสี

    - คู่มือการขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ด้วยวิธีการสอบ และการต่อใบอนุญาตใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีด้วยการฝึกอบรมและทดสอบ

    - คู่มือการจัดการเรื่องร้องเรียนทั่วไป ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ และคำชมเชย

• มาตรฐานการให้บริการ

    - กระบวนการสอบเทียบเครื่องวัดรังสี

    - การขออนุญาตมีไว้ในครอบครองหรือใช้วัสดุนิวเคลียร์

    - การขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขใบอนุญาตเครื่องกำเนิดรังสี

    - การขออนุญาตส่งออกวัสดุกัมมันตรังสี

    - การขอใบอนุญาตและขึ้นทะเบียนเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี  ระดับสูง ประเภทวัสดุกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสี

• มาตรฐานการปฏิบัติงาน

ะบบรับสมัครสอบเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีแบบออนไลน์
- ระบบใบแจ้งข้อเท็จจริงการใช้ใบอนุญาตฯ สำหรับการ นำเข้า-ส่งออก ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เชื่อมโยงระบบ NSW
- ระบบจองคิวสอบเทียบเครื่องวัดรังสีออนไลน์

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
           • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
            การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
            หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
               - ประกาศสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง เกณฑ์ในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ
               - ประกาศสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ
               - ประกาศสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดทำคำมั่นในการพัฒนาปรับปรุงตนเองกรณีข้าราชการมีผลการปฏิบัติราชการในระดับต้องปรับปรุง
            รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
               
 การส่งเสริมความโปร่งใส 
            • การส่งเสริมความโปร่งใส
               - แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
               - ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
               - ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
               - ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
               - การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
            • การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
              การมีส่วนร่วม             
               การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
               การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
              การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
              แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
                  - คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความโปร่งใสในการดำเนินงานของ ปส.
              รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต รอบ 6 เดือน
              รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
            • มาตรการส่งเสริมความโปร่งใส
                  - ใบยืมพัสดุ
  • • การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
  • - รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
  • -  นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2565
  • -  ผลการดำเนินงานนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

• หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

- ประกาศสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง เกณฑ์ในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ
- ประกาศสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ
- ประกาศสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดทำคำมั่นในการพัฒนาปรับปรุงตนเองกรณีข้าราชการมีผลการปฏิบัติราชการในระดับต้องปรับปรุง

การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต

• แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
• ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต

• ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
• ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
- การดานถาม-ตอบ Q&A

• การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

- ประมวลภาพการประชุมชี้แจงการดำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของ ปส.

- การประชุมชี้แจงการดำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของ ปส


• มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต

- มาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะ
- มาตรการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วม
- มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง
- มาตรการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
- มาตรการป้องกันการรับสินบน
- มาตรการป้องกันการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม 
- มาตรการตรวจสอบการใช้ดุลพินิจ
 
ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความโปร่งใสในการดำเนินงานของ ปส. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ศูนย์ราชการสะดวก (Government Easy Contact Center : GECC)

 

gecc

สัญลักษณ์ศูนย์ราชการสะดวก (GECC)

 

ความเป็นมา

  • สืบเนื่องจากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2558 นายกรัฐมนตรีได้มอบนโยบายให้ทุกกระทรวง กรม และจังหวัด รวมทั้งรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง กำหนดให้มี ศูนย์ราชการสะดวก (Government Easy Contact Center : GECC) เพื่อเป็นหน่วยงานที่ให้คำแนะนำและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนให้เกิดการบริการที่มีประสิทธิภาพและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชนที่เดินทางมาติดต่อราชการกับหน่วยงานของรัฐ
  • มุมมองที่สำคัญของการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก (GECC) มี 4 ด้าน ดังนี้
    • ด้านสถานที่ ต้องเข้าถึงง่าย และสะดวกในการติดต่อขอรับบริการ ไม่สร้างภาระให้แก่ประชาชน
    • ด้านบุคลากร ต้องมีจิตบริการ (Service Mind) การบริการมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
    • ด้านงานที่ให้บริการ ต้องตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ ขั้นตอนการขอรับบริการไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีความง่ายต่อเจ้าหน้าที่ในการให้บริการ
    • ด้านอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ตามภารกิจ โดยทุก ๆ ด้านต้องมีมาตรฐานการให้บริการประชาชน

คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนศูนย์ราชการสะดวก (Government Easy Contact Center : GECC) ของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

มาตรฐานการให้บริการศูนย์ราชการสะดวก (GECC) 

มาตรการอำนวยความสะดวกและลดภาระแก่ประชาชนของ ปส.

แผนการดำเนินงานศูนย์ราชการสะดวกของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ 


ความพึงพอใจผู้รับบริการ (Customer Satisfaction)

ความพึงพอใจ 2565

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2562

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำเดือนมกราคม 2563

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำเดือนมีนาคม 2563

ผลการประเมินความพึงพอใจ ssdl ผลการประเมินความพึงพอใจ ssdl

แบบวิเคราะห์ผลสำรวจความพึงพอใจ เดือนกรกฎาคม 2563

แบบวิเคราะห์ผลสำรวจความพึงพอใจ เดือนกันยายน 2563

แบบวิเคราะห์ผลสำรวจความพึงพอใจ เดือนมิถุนายน 2563

แบบวิเคราะห์ผลสำรวจความพึงพอใจ เดือนเม.ย.-พ.ค. 2563

แบบวิเคราะห์ผลสำรวจความพึงพอใจ เดือนสิงหาคม 2563

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

แบบวิเคราะห์ผลความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  new gif

 

 

มาตรฐานการปฏิบัติงานและการบริการ

 


การจัดการเรื่องร้องเรียนของสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

  • รายงานผลการจัดการเรื่องร้องเรียน
    • ผลการจัดการเรื่องร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
    • ผลการจัดการเรื่องร้องเรียน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

 

 


คำสั่ง ระเบียบ ประกาศ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

 

 


 แบบฟอร์มต่าง ๆ

 

 

 


เอกสารประกอบการประชุม/สัมมนา

 

 

 

Search