การเตรียมตัวสอบเจ้าหน้าความปลอดภัยทางรังสี RSO

วิชาสำหรับการทดสอบความรู้ความสามารถเพื่อขอรับใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี

หัวข้อต่อไปนี้ใช้สำหรับสอบทุกระดับ(ต้น กลาง สูง) ทุกประเภท(วัสดุกัมมันตรังสี เครื่องกำเนิดรังสี  วัสดุกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสี)

ภาคทฤษฎี

1. หัวข้อวิชากฎหมาย
  1.1 หัวข้อ พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หมวดหมู่สำคัญของกฎหมาย  
พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ. 2559
พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
  1.2 หัวข้อกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฏกระทรวงการจัดกากกัมมันตรังสี
กฏกระทรวงการปล่อยทิ้งกากกัมมันตรังสี พ.ศ.2561
กฏกระทรวงความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ. 2561
กฏกระทรวงความมั่นคงปลอดภัยทางรังสี พ.ศ. 2561
ประกาศคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติเรื่อง เกณฑ์ปลอดภัย พ.ศ.2562

2. หัวข้อวิชาเทคนิคเกี่ยวกับรังสี สำหรับผู้ขอรับใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีทุกประเภท
ระดับต้น
ระดับกลาง
ระดับสูง

เกณฑ์การสอบผ่าน คะแนนแต่ละวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60

ภาคปฏิบัติ

1. หัวข้อวิชาสำหรับผู้ขอรับใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ระดับกลาง เฉพาะประเภทวัสดุกัมมันตรังสี และประเภทวัสดุกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสี 
  1.1 การกำบังรังสี 
  1.2 หัวข้อกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องการใช้เครื่องมือวัดรังสีและการเข้าสำรวจพื้นที่ปฏิบัติงานเพื่อการป้องกันอันตรายจากรังสี
  1.3 การตรวจวัดการปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นผิว
  1.4 การชำระล้างการปนเปื้อนทางรังสีบนพื้นผิวในบริเวณปฏิบัติงานรังสี

2. หัวข้อวิชาสำหรับผู้ขอรับใบอนุญาตเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี ระดับสูงทุกประเภท
  2.1 การใช้เครื่องวัดรังสีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยกับการใช้เครื่องวัดรังสีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยกับวัสดุกัมมันตรังสีหรือเครื่องกำเนิดรังสี
  2.2 การตรวจวัด การตรวจสอบ และตรวจพิสูจน์เพื่อการตรวจวัด การตรวจสอบ และตรวจพิสูจน์เพื่อการประเมินความปลอดภัยทางรังสี
  2.3 การตรวจวัด การชำระล้างการปนเปื้อนทางรังสี และการตรวจวัด การชำระล้างการปนเปื้อนทางรังสี และการประเมินการแพร่กระจายของการปนเปื้อนทางรังสี

เกณฑ์การสอบผ่าน คะแนนแต่ละวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60


ห้องสมุดทางรังสี

1.รังสีและกัมมันตภาพรังสี
2.รังสี ปริมาณและหน่วยวัดรังสี
3. ระบบหัววัดรังสี
3.1 คุณสมบัติของรังสี
3.2 หน่วยวัดกัมมันตภาพรังสี
3.3 กระบวนการวัดรังสี
3.4 หัววัดรังสีแบบแก๊ส
3.5 หัววัดรังสีแบบเรืองแสง
3.6 หัววัดรังสีชนิดสารกึ่งตัวนำ
3.7 เครื่องวัดปริมาณรังสีประจำตัวบุคคล
4.การเกิดปฏิกิริยาของรังสีกับสสาร
5.อันตรายที่เกิดจากรังสี
6.การจัดการกากกัมมันตรังสี
7.การใช้รังสีในทางการแพทย์
8.การใช้รังสีในทางอุตสาหกรรม
8.1คู่มือความปลอดภัยสำหรับอุปกรณ์ถ่ายภาพด้วยรังสีแกมมาทางอุตสาหกรรม
9.การใช้ไอโซโทปรังสีในการเกษตร
10.กัมมันตภาพรังสีในสิ่งแวดล้อม
11.สัญลักษณ์รังสีและการติดเครื่องหมายรังสี
11.1 ป้ายเตือนทางรังสี
12.ขั้นตอน วิธีการ และข้อกำหนดในการปฏิบัติงาน
13.การตรวจสอบการปนเปื้อนทางรังสี
14.เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสีกับการประเมินความปลอดภัยทางรังสี

คลังวิดีโอ

เครื่องสำรวจรังสี

เครื่องสำรวจการเปรอะเปื้อน

การตรวจวัดการเประอะเปื้อนแบบ Direct

การตรวจวัดการเประอะเปื้อนแบบ Indirect

More

พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติฯ
การขออนุญาตผลิต ครอบครอง นำเข้า ส่งออก นำผ่าน วัสดุกัมมันตรังสีและวัสดุนิวเคลียร์
ขออนุญาตทำเครื่องกำเนิดรังสี ครอบครอง ใช้ นำเข้า ส่งออก เครื่องกำเนิดรังสี
การตรวจสอบ ประเมินและความมั่นคงปลอดภัยทางรังสี ครอบครองหรือใช้วัสดุกัมมันตรังสี
การตรวจสอบ ประเมินความปลอดภัยในสถานประกอบการทางรังสีที่มีไว้ครอบครอง หรือใช้เครื่องกำเนิดรังสี
ศักยภาพ บทบาท และหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี
แนวปฏิบัติการจัดทำแผนฉุกเฉินทางรังสี
Skip to content